แบบทดสอบ คลิกที่นี่
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Moore's law
Moore's
law
Moore's law คืออะไร
กฏของมัวร์ หรือ Moore's
law คือ กฏที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว มีความว่า จํานวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี Gordon
E. Moore ผู้ก่อตั้ง Intel ซึ้งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยํา อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก อุตสาหกรรม semiconductor นํากฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ moore's
law เป็น ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวมจำนวนของ ทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้นMoore
predicted that this trend would continue for the foreseeable future. มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไป, การก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน
กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์(Moore’s
law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม
กฎของมัวร์ (Moore's Law)
ในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งทีประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ
พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม
การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบเทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์
คําว่า “กฎของมัวร์” นั้นถูกเรียกโดยศาสตราจารย์ Caltech นามว่า Carver
Mead
ซึ่งกล่าวว่าจํานวนทรานซิสเตอร์จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในทุกๆหนึ่งปี ในช่วงปี 1965 ต่อมามัวร์จึงได้
เปลี่ยนรูปกฎ เพิ่ขึ้นสองเท่าในทุกๆสองปี ในปี 1975
วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
รหัสแทนข้อมูล รหัส ASCII และ รหัส Unicode
รหัสแทนข้อมูล รหัส ASCII และ รหัส Unicode
รหัส
ASCII
รหัสแอสกีมีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือสื่อสารแบบดิจิทัลต่างๆ
พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการ X3 ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมมาตรฐานอเมริกา (American
Standards Association) ภายหลังกลายเป็น
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (American National Standard Institute :
ANSI) ในปี ค.ศ. 1969
โดยเริ่มต้นใช้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1967 ซึ่งมีอักขระทั้งหมด 128 ตัว (7 บิต) โดยจะมี 33
ตัวที่ไม่แสดงผล (unprintable/control character) ซึ่งใช้สำหรับควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์บางประการ
เช่น การขึ้นย่อหน้าใหม่สำหรับการพิมพ์ (CR & LF - carriage return and
line feed) การสิ้นสุดการประมวลผลข้อมูลตัวอักษร (ETX - end
of text) เป็นต้น และ อีก 95 ตัวที่แสดงผลได้
(printable character) ดังที่ปรากฏตามผังอักขระ (character
map) ด้านล่าง
รหัสแอสกีได้รับการปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
ค.ศ. 1986 ให้มีอักขระทั้งหมด 256 ตัว
(8 บิต) และเรียกใหม่ว่าแอสกีแบบขยาย อักขระที่เพิ่มมา 128
ตัวใช้สำหรับแสดงอักขระเพิ่มเติมในภาษาของแต่ละท้องถิ่นที่ใช้ เช่น
ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ฯลฯ
โดยจะมีผังอักขระที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาซึ่งเรียกว่า โคดเพจ (codepage)
โดยอักขระ 128 ตัวแรกส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกันแทบทุกโคดเพจ
มีส่วนน้อยที่เปลี่ยนแค่บางอักขร
รหัสแอสกี เป็นรหัสที่นิยมใช้กันมาก
จนสามมารถนับได้ว่าเป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล ( Data
Communications) ซึ่งจำเป็นต้องใช้รหัสการแทนข้อมูลเป็นระบบเดียวกัน
เพื่อให้สามารถรับ - ส่งข้อมูลได้ในความหมายเดียวกัน รหัสแอสกีใช้เลขฐานสอง
8
หลักแทนข้อมูลหนึ่งตัวเช่นเดียวกับรหัสเอบซีดิค นั่นคือ 1 ไบต์มีความยาวเท่ากับ 8
บิต รวมทั้งมีการแบ่งรหัสออกเป็นสองส่วน คือ โซนบิตและนิวเมอริกบิตเช่นเดียวกัน
ตาราง ASCII
อ้างอิงข้อมูล
อ้างอิงข้อมูลรูป
*************************************************************************
รหัส Unicode
เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8
บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256 รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด
โดยเฉพาะภาษาที่เป็นภาษาภาพ เช่น
ภาษาจีนหรือภาษาญี่ปุ่นเพียงภาษาเดียวก็มีจำนวนรูปแบบเกินกว่า 256 ตัวแล้ว UniCode จะเป็นระบบรหัสที่เป็น 16 บิต
จึงแทนตัวอักษรได้มากถึง 65,536 ตัวซึ่งเพียงพอสำหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์กราฟฟิกโดยทั่วไป
รวมทั้งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันระบบ UniCode
มีใช้ในระบบปฏิบัติการ
Window NT ระบบปฏิบัติการUNIX
บางรุ่น
รวมทั้งมีการสนับสนุนชนิดข้อมูลแบบ UniCode ในภาษา JAVA
ด้วย
ตารางรหัส Unicode
อ้างอิงข้อมูล http://jantima-ssp.exteen.com/20080212/entry-6
อ้างอิงข้อมูลรูปภาพ http://thaifont.info/wp-content/uploads/2011/02/thai-unicode-glyph500.jpg
อ้างอิงข้อมูลรูปภาพ http://thaifont.info/wp-content/uploads/2011/02/thai-unicode-glyph500.jpg
*************************************************************************
SAKSUN PHROMCHUAY
แทนรหัส ASCII
S = 0101 0011 P= 0101 0000
A=
0100 0001 H=
0100 1000
K= 0100 1011 R=
0101 0010
S= 0101 0011 O=
0100 1111
U= 0101 0101 M=
0100 1101
N= 0100 1110 C= 0100 0011
Space\= 0010 0000 H= 0100 1000
U= 0101 0101
A=
0100 0001
Y= 0101 1001
รวม
01010011 01000001 01001011 01010011 01010101 01001110 00100000 01010000 01001000 01010010 01001111 01001101 01000011 01001000 01010101 01000001 01011001
*** ใช้พื้นที่จัดเก็บ จำนวน 136 Bit หรือ 17 Byte ***
T h a n k Y o u
__________________________________
วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บิตตรวจสอบ (Parity Bit)
บิตตรวจสอบ (Parity Bit)
ถึงแม้เลขฐานสองที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีอัตราความผิดพลาดต่ำ
เพราะมีค่าความเป็นไปได้เพียง 0 หรือ 1 เท่านั้น
แต่ก็อาจเกิดข้อบกพร่องขึ้นได้ภายในหน่วยความจำ ดังนั้น บิตตรวจสอบ หรือพาริตี้บิต
จึงเป็นบิตที่เพิ่มเติมเข้ามาต่อท้ายอีก 1 บิต ซึ่งถือเป็นบิตพิเศษที่ใช้สำหรับตรวจสอบความแม่นยำและความถูกต้องของข้อมูลที่จะถูกจัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์
สำหรับบิตตรวจสอบ
จะมีวิธีตรวจสอบอยู่ 2 วิธีด้วยกัน คือ
1. การตรวจสอบบิตภาวะคู่ (Even Parity)
2. การตรวจสอบบิตภาวะคี่ (Odd Parity)
1. การตรวจสอบบิตภาวะคู่ (Even Parity)
2. การตรวจสอบบิตภาวะคี่ (Odd Parity)
ตัวอย่าง: บิตตรวจสอบ Parity Bit
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)